ชวนมาเรียน


อาหารและสารอาหาร

อาหารและสารอาหาร ตอนที่ 1

อาหารและสารอาหาร ตอนที่ 2

การเลือกรับประทานอาหาร

ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร

โรคและแนวทางการดูแลอวัยวะในระบบย่อยอาหาร

การแยกสารเนื้อผสม

การแยกสารเนื้อผสม ตอนที่ 1

การแยกสารเนื้อผสม ตอนที่ 2

การแยกสารเนื้อผสม ตอนที่ 3

การแยกสารเนื้อผสม ตอนที่ 4

การแยกสารเนื้อผสม ตอนที่ 5

การแยกสารเนื้อผสม ตอนที่ 6

https://www.youtube.com/watch?v=ggQgHp0m_-Y

การเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร

การเกิดหินอัคนี

เกิดจากการเย็นตัวและตกผลึกของหินหนืด (Magma) อย่างช้าๆ ใต้ผิวโลก ทำให้ผลึกแร่ในหินมีขนาดใหญ่ เรียกว่า หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive Igneous Rocks) เช่น หินแกรนิต หินไดออไรต์ หินแกบโบร ฯลฯ 

และเกิดจากการเย็นตัวและตกผลึกหรือการเย็นตัวและแข็งตัวของหินหนืด (Lava) อย่างรวดเร็วบนผิวโลกทำให้ผลึกแร่ในหินมีขนาดเล็ก เรียกว่า หินอัคนีพุ (Extrusive Igneous Rocks) เช่น หินบะซอลต์ หินพัมมิซ หินไรโอไลต์ หินสคอเรีย ฯลฯ

การเกิดหินตะกอน

เกิดจากการสะสมตัวของตะกอน เช่น เศษหิน กรวด ทราย ดิน โคลน ฯลฯ ที่ผุพังจากหินเดิมตกลงไปในแอ่งสะสมตะกอนและมีการเชื่อมประสานตะกอน และเกิดจากการตกผลึกหรือตกตะกอนของสารบางชนิด ตัวอย่างหินตะกอน เช่น หินทราย หินปูน หินกรวดมน หินดินดาน หินเชิร์ต ฯลฯ


การเกิดหินแปร

เกิดจากการแปรสภาพของหินทุกประเภท โดยความร้อน และ/หรือความดันที่อยู่ใต้ผิวโลกและอาจเกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นใต้ผิวโลก เช่น หินไนส์ หินชนวน หินอ่อน หินควอตซ์ไซต์ ฯลฯ


วัฏจักรของหิน ตอนที่ 1

วัฏจักรของหิน ตอนที่ 2


ประโยชน์ของหิน

ซากดึกดำบรรพ์

การเกิดซากดึกดำบรรพ์ ตอนที่ 1

ประโยชน์ของซากดึกดำบรรพ์ ตอนที่ 1

ประโยชน์ของซากดึกดำบรรพ์ ตอนที่ 2

ตัวอย่างแนวทางการจัดกิจกรรมการเกิดหินอัคนี (รูปแบบออนไลน์)

67 แบบบันทึกกิจกรรมหินอัคนี.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้โรงเรียนพญาไท เรื่อง หินและซากดึกดำบรรพ์ ครั้งที่ 1.pdf
ข้อสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง หิน ปีการศึกษา 2567.pdf